สิทธิรับเงินชดเชยเมื่อถูกเลิกจ้าง
กฎหมายแรงงานระบุให้ นายจ้างจ่าย “เงินชดเชย” ถ้าเลิกจ้าง และลูกจ้างไม่มีความผิด โดยจะได้รับค่าชดเชยนั้นจะขึ้นอยู่กับอายุงานของลูกจ้างดังนี้
ทำงานครบ
0 วัน
120 วัน
1 ปี
3 ปี
6 ปี
10 ปี
20 ปีขั้นไป
แต่ไม่ถึง
120 วัน
1 ปี
3 ปี
6 ปี
10 ปี
20 ปี
ได้รับค่าชดเชย
ไม่มีสิทธิ์ได้รับ
เท่ากับค่าจ้าง 30 วัน
เท่ากับค่าจ้าง 90 วัน
เท่ากับค่าจ้าง 180 วัน
เท่ากับค่าจ้าง 240 วัน
เท่ากับค่าจ้าง 300 วัน
เท่ากับค่าจ้าง 400 วัน
นายจ้างต้องจ่าย “ เงินชดเชยพิเศษ ” เนื่องจาก
1. ปรับปรุงหน่วยงานการขาย การผลิต หรือการบริการ
2. ย้ายสถานประกอบการ มีผลต่อการใช้ชีวิตของลูกจ้างหรือครอบครัว
6 ความผิดที่ไหนไม่ได้รับเงินชดเชย
ซึ่งถ้าลูกจ้างมีความผิดตามข้อใดดังต่อไปนี้ นายจ้างสามารถไม่จ่ายเงิดเชยให้กับลูกจ้างได้
เงินชดเชยว่างงานจากประกันสังคม
พอได้รับเงินชดเชยจากนายจ้างแล้ว ลูกจ้างซึ่งถือเป็นผู้ประกันตามมาตรา 33 ที่ได้นำส่งเงินประสังคม จะได้รับเงินชดเชยการว่างงานจากประกันสังคม ตามแต่ละกรณีดังต่อไปนี้ครับ
ในกรณีที่ การยื่นขอรับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานเพราะเหตุลาออกหรือสิ้นสุดสัญญาจ้างเกินกว่า 1 ครั้ง ภายใน 1 ปีปฏิทิน จะมีสิทธิได้รับเงินทดแทนรวมกันไม่เกิน 90 วันครับ
- ผู้ตรวจสอบบัญชีรับอนุญาต
- อาจารย์พิเศษให้กับสถาบันของรัฐและเอกชน